คำถาม พื้นฐาน
1.1 กรรมคืออะไร ให้ผลในระดับบุคคล และสังคมอย่างไร
1.2 ถ้าไม่มีเจตนา ก็ไม่ผิดใช่หรือไม่
ถ้าไม่รู้ ก็ไม่ผิด ใช่หรือไม่
1.3 การอุทิศกุศล มีจริงหรือไม่ ทำได้อย่างไร
1.4 การเวียนว่ายตายเกิด มีจริงหรือไม่ พิสูจน์ได้อย่างไร
คาบที่ ๔ ชีวิต เป็นไปอย่างไร :
กรรม และปฏิจจสมุปบาท
ใจความพุทธธรรม บทที่
: 4, 5, 20จำนวนสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง
: 7 สื่อ/กิจกรรมตัวอย่างเนื้อหา
: กรรมคืออะไร ให้ผลในระดับบุคคล และสังคมอย่างไร ?
: กรรมเก่ามีหรือไม่ ? เกิดมาเพื่อใช้กรรมใช่ไหม ?
: สภาวะขณะที่เป็น กุศล-อกุศล เป็นอย่างไร ?
70 นาที
ช่วงที่ 1 วัวขาว วัวดำ (32 นาที)
ช่วงที่ 2 กรรม 12 : การให้ผลของกรรม (38 นาที)
(คลิกเพื่อดาวน์โหลด เอกสารประกอบการบรรยาย ชุดที่ 4)
ช่วงที่ 3 ผีเสื้อขยับปีก : ปฏิจจสมุปบาท และปัฏฐานเบื้องต้น (บรรยายสด)
(คลิกเพื่อดาวน์โหลด เอกสารประกอบการบรรยาย ชุดผีเสี้อขยับปีก)
- There is a cloud in your tea (หลวงปู่ ติช นัท ฮันห์)
- บางส่วนจาก ปาฐกถาธรรม ๑๐ ปี คิลานธรรม คุณค่าแห่งการดำรงอยู่และการจากลา: สู่วิถีคิลานธรรม
โดย รศ.ดร.โสรีช์ โพธิแก้ว (อดีตรองคณบดี คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
- นรก สวรรค์ มีจริงหรือไม่? : นรกสวรรค์ หลังตาย / ในใจ / ในแต่ละขณะจิต
- ท่าทีของพุทธศาสนา ต่อเรื่องนรก-สวรรค์
- ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
- ผลกรรมในชาติหน้า
60 นาที
- ปฏิจจสมุปบาทกับการดูจิต (พระอาจารย์ปราโมทย์ ปาโมชฺโช) (3.26 นาที)
- การละวางต่ออกุศลธรรม (พระภาวนาเขมคุณ) (59.27 นาที)
ตัวอย่างหัวข้อที่น่าศึกษาเพิ่มเติม....
- ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกรรม (อ่านพุทธธรรมออนไลน์ / ฟังเสียงอ่านหนังสือพุทธธรรม)
- เกณฑ์ตัดสิน ความดี–ความชั่ว (อ่านพุทธธรรมออนไลน์ / ฟังเสียงอ่านหนังสือพุทธธรรม)
- การให้ผลของกรรม (อ่านพุทธธรรมออนไลน์ / ฟังเสียงอ่านหนังสือพุทธธรรม)
- กรรม ชำระล้างได้อย่างไร? (อ่านพุทธธรรมออนไลน์ / ฟังเสียงอ่านหนังสือพุทธธรรม)
- กรรมกับอนัตตา ขัดกันหรือไม่? (อ่านพุทธธรรมออนไลน์ / ฟังเสียงอ่านหนังสือพุทธธรรม)
- กรรม ๑๒ (อ่านพุทธธรรมออนไลน์ / ฟังเสียงอ่านหนังสือพุทธธรรม)
- คำอธิบาย ปฏิจจสมุปบาท ตามแบบ (อ่านพุทธธรรมออนไลน์ / ฟังเสียงอ่านหนังสือพุทธธรรม)
- ความหมาย ปฏิจจสมุปบาท ในชีวิตประจำวัน (อ่านพุทธธรรมออนไลน์ / ฟังเสียงอ่านหนังสือพุทธธรรม)
- โอวาทปาติโมกข์ (บทสวดมนต์แปล พร้อมคลิปเสียง / พระไตรปิฎกไทย / พระไตรปิฎกบาลี)
- จูฬกัมมวิภังคสูตร (พระไตรปิฎกไทย / พระไตรปิฎกบาลี)
- มหากัมมวิภังคสูตร (พระไตรปิฎกไทย / พระไตรปิฎกบาลี) (คลิกดูเอกสารสรุปความ)
- คู่มือพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๕ วิถีมุตตสังคหวิภาค กัมมจตุกะ
- คู่มือพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๘ ปัจจยสังคหวิภาค
- การบรรยาย ชุด "ตามรอย..พุทธธรรม" เรื่อง หลักกรรม (youtube | soundcloud)
- การบรรยาย ชุด "ตามรอย..พุทธธรรม" เรื่อง ปฏิจจสมุปบาท
คลิป ธรรมบรรยาย
------------------
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
- ยถาธรรม ยถากรรม (8 นาที)
- มีปัญญารู้ทันอนิจจัง หันหลังให้ตัณหา มาสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้ากันให้เต็มที่ (58.18 นาที)
พระภาวนาเขมคุณ
- วิปัสสนาภูมิ (๖) ว่าด้วยปฏิจจสมุปบาท 12 (50.29 นาที)
- กรรม จำแนกสัตว์ให้หยาบและปราณีต (38.21 นาที)
- 31ภพภูมิในสังสารวัฎ (51 นาที)
อ.เสถียร โพธินันทะ
- ปฏิจจสมุปบาท
- คลิปเต็ม 4 ชม.
- ช่วงสรุปย่อ 37+ นาที
กรรมของคนไทย ทำกันไว้เอง (ถึงเวลา มาแก้กรรมกันเสียที)
------------------
... คนเราเกิดมามีอินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไว้รับรู้และรู้สึก สำหรับด้านความรู้สึกจะนำไปสู่การเกิดความอยากประเภทกิเลสตัณหา คืออยากเสพ เช่น เมื่อได้ลิ้มรสอาหาร จะรู้สึกอร่อยหรือไม่อร่อย ถ้าอร่อยก็อยากกินอีก ถ้าไม่อร่อย ก็อยากจะเลิกหรือเลี่ยงหนี ความอยากประเภทนี้ คือตัณหา ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่ต้องมีความรู้ เรียกว่ามีอวิชชาเป็นตัวเอื้อ อวิชชากับตัณหาไปด้วยกัน
ถ้าการศึกษาเริ่มต้นคือคนเริ่มพัฒนา ก็จะมีการเรียนรู้เช่น ด้วยการตั้งคำถามว่าเรากินเพื่ออะไร เมื่อถามว่าเรากินเพื่ออะไร ก็มีการคิดพิจารณา และปัญญาก็เริ่มมา แล้วก็จะได้คำตอบทางปัญญาว่า กินเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงมีสุขภาพดี ไม่ใช่กินเพียงเพื่ออร่อย แล้วความรู้นี้ก็จะทำให้เราปรับพฤติกรรมการกินทันที ...
ปฏิจจสมุปบาท จากพระโอษฐ์
------------------
...เป็นการรวบรวมเรื่องอิทัปปัจจยตาในส่วนของปฏิจจสมุปบาทมาอย่างครบถ้วนเพียงพอที่จะศึกษาเรื่องปฏิจจสมุปบาทอย่างชัดแจ้งถึงที่สุด ให้สมกับพระพุทธภาษิตที่ว่า “ผู้ใดเห็นปฏิจจสมุปบาท ผู้นั้นเห็นธรรม, ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นตถาคต” ดังที่ปรากฏอยู่ในหนังสือเล่มนี้แล้ว. นับเป็นการเห็นพระพุทธองค์ในภาษาธรรม ซึ่งเกื้อกูลแก่การบรรลุมรรคผลนิพพานเป็นอย่างยิ่ง.
ผู้รวบรวม
(ที่มา:https://www.pagoda.or.th...)
อิทัปปัจจยตา
------------------
... คําว่าอิทัปปัจจยตา มีความหมายกว้างทั่วไปจะใช้กับรูปธรรมอย่างใดอย่างหนึ่งในกรณีใดกรณีหนึ่งก็ยังได้, เป็นกฎวิทยาศาสตร์ทั่วไปก็ได้, ส่วนปฏิจจสมุปบาทนั้นมุ่งหมายใช้เฉพาะเรื่องเกิดทุกข์ และดับทุกข์โดยตรงในพุทธศาสนาเท่านั้น. แต่ถึงอย่างนั้น ใจความสําคัญก็คงมีอย่างเดียวกันคือแสดงถึงกระแสแห่งปัจจัยและสิ่งที่เกิดตามปัจจัยเป็นสายยืดยาวไปเท่านั้น ....
(ที่มา:http://www.buddhadasa.org/...)
1.1 กรรมคืออะไร ให้ผลในระดับบุคคล และสังคมอย่างไร
1.2 ถ้าไม่มีเจตนา ก็ไม่ผิดใช่หรือไม่
ถ้าไม่รู้ ก็ไม่ผิด ใช่หรือไม่
1.3 การอุทิศกุศล มีจริงหรือไม่ ทำได้อย่างไร
1.4 การเวียนว่ายตายเกิด มีจริงหรือไม่ พิสูจน์ได้อย่างไร
2.1 ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว จริงหรือไม่
2.2 ความดี-ความชั่ว คนดี-คนชั่ว มีจริงหรือไม่
2.3 กรรมเก่า มีจริงหรือไม่
2.4 เกิดมาเพื่อใช้กรรม ใช่หรือไม่
2.5 การแก้กรรม ล้างบาป ทำได้หรือไม่ อย่างไร
2.6 ไตรลักษณ์ ปฏิจจสมุปบาท และอิทัปปัจจยตา มีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กันอย่างไร
3.1 สภาวะขณะที่เป็น สุข-ทุกข์ เป็นอย่างไร
3.2 สภาวะขณะที่เป็น กุศล-อกุศล เป็นอย่างไร
3.3 กระแสปฏิจจสมุบาท เกิดขึ้นจริงในชีวิตอย่างไร
3.4 มีอะไร เป็นปัจจัย ต่อการตัดสินใจครั้งหนึ่งๆ บ้าง
3.5 การตัดสินใจครั้งหนึ่งๆ ส่งผลต่อสิ่งใด หรือใคร บ้าง
Built with Mobirise - Go now